วันศุกร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย ตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน

 

นายกรัฐมนตรีของไทย เริ่มมีมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7

ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมีขึ้นภายหลังการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" ตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 และภายหลังพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ก็เปลี่ยนมาเรียก "นายกรัฐมนตรี" โดยมีตราประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นตราราชสีห์คชสีห์รักษารัฐธรรมนูญ และเป็นตราประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย

คณะรัฐมนตรีของไทย จนถึงปัจจุบัน มีทั้งหมด 62 คณะ 29 คน

คณะปฏิวัติ / คณะรัฐประหาร จนถึงปัจจุบัน มีทั้งหมด 9 คณะ

คณะทหารแห่งชาติ
(หัวหน้าคณะ: ผิน ชุณหะวัณ)
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490

คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: สฤษดิ์ ธนะรัชต์)
16 กันยายน พ.ศ. 250021 กันยายน พ.ศ. 2500
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: สฤษดิ์ ธนะรัชต์)
20 ตุลาคม พ.ศ. 25019 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: ถนอม กิตติขจร)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
18 ธันวาคม พ.ศ. 2515

คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
(หัวหน้าคณะ: สงัด ชลออยู่)
6 ตุลาคม พ.ศ. 25198 ตุลาคม พ.ศ. 2519
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: สงัด ชลออยู่)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520


คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ
(หัวหน้าคณะ: สุนทร คงสมพงษ์)
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25342 มีนาคม พ.ศ. 2534

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(หัวหน้าคณะ: สนธิ บุญยรัตกลิน)

19 กันยายน พ.ศ. 2549

1 ตุลาคม พ.ศ. 2549
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
(หัวหน้าคณะ: ประยุทธ์ จันทร์โอชา)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 255724 สิงหาคม พ.ศ. 2557

รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย

      ประธานคณะกรรมการราษฎร
      นายกรัฐมนตรีที่มาจากรัฐประหารโดยตรง
      ผู้รักษาการแทนในกรณีตำแหน่งนายกรัฐมนตรีว่างลง
      คณะรัฐประหาร

ลำดับ
(สมัย)
รูปชื่อคณะรัฐมนตรีไทย
คณะที่
การดำรงตำแหน่งที่มารัชสมัย
เริ่มวาระ
(เริ่มต้นโดย)
สิ้นสุดวาระ
(สิ้นสุดโดย)
ระยะเวลา
1
(1-3)
Official portraits of Phraya Manopakorn Nititada.jpg
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา128 มิถุนายน พ.ศ. 2475
(มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว)
10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม)
0 ปี 358 วัน-
Prajadhipok's coronation records - 004.jpg

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
210 ธันวาคม พ.ศ. 2475
(มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว)
1 เมษายน พ.ศ. 2476
(รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา)
31 เมษายน พ.ศ. 2476
(พระราชกฤษฎีกา)
21 มิถุนายน พ.ศ. 2476
(รัฐประหารและลาออก)
2
(1-5)
Phraya Pahol.jpg
พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา421 มิถุนายน พ.ศ. 2476
(มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว)
16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
(ลาออกและเลือกตั้งทั่วไป)
5 ปี 178 วันคณะราษฎร
516 ธันวาคม พ.ศ. 2476
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1)
22 กันยายน พ.ศ. 2477
(ลาออกเนื่องจากสภาไม่อนุมัติสนธิสัญญาจำกัดยางของรัฐบาล)
622 กันยายน พ.ศ. 2477
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1)
9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
(ลาออกเนื่องจากกรณีกระทู้เรื่องขายที่ดินพระคลังข้างที่)
King Ananda Mahidol portrait photograph 1944.jpg

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
79 สิงหาคม พ.ศ. 2480
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1)
21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
(สภาครบวาระและจัดเลือกตั้งทั่วไป)
821 ธันวาคม พ.ศ. 2480
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2)
16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและเลือกตั้งทั่วไป)[1]
3
(1-2)
แปลก พิบูลสงคราม รูปอย่างเป็นทางการ.jpgพลตรีหลวงพิบูลสงคราม
(ถึงกรกฎาคม 2484)
จอมพล ป. พิบูลสงคราม
(ตั้งแต่กรกฎาคม 2484)
916 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
7 มีนาคม พ.ศ. 2485
(ลาออกเนื่องจากต้องเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีให้เหมาะสม)
5 ปี 229 วันคณะราษฎร
107 มีนาคม พ.ศ. 2485
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
(ลาออกเนื่องจากส.ส.ไม่อนุมัติร่างพ.ร.บ.และพ.ร.ก.)
4
(1)
ควง อภัยวงศ์ 2475.jpg
พันตรีควง อภัยวงศ์111 สิงหาคม พ.ศ. 2487
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
(ลาออกเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง)
1 ปี 30 วันคณะราษฎร
5
Thavi Boonyaket.jpg
ทวี บุณยเกตุ1231 สิงหาคม พ.ศ. 2488
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
17 กันยายน พ.ศ. 2488
(ลาออกเนื่องจากเปิดโอกาสให้ผู้ที่เหมาะสมมาแทน)
0 ปี 17 วันคณะราษฎร
6
(1)
Seni Pramoj in 1945.jpg
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช1317 กันยายน พ.ศ. 2488
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
31 มกราคม พ.ศ. 2489
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและเลือกตั้งทั่วไป)
0 ปี 136 วันเสรีไทย
4
(2)
ควง อภัยวงศ์ 2475.jpg
พันตรีควง อภัยวงศ์1431 มกราคม พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
24 มีนาคม พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากแพ้มติสภาที่เสนอพ.ร.บ.ที่รัฐบาลรับไม่ได้)
0 ปี 52 วันคณะราษฎร
7
(1-3)
Pridi Banomyong-portrait.jpg
ปรีดี พนมยงค์1524 มีนาคม พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
7 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489)
0 ปี 152 วันคณะราษฎร
-7 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล)
Portrait painting of King Bhumibol Adulyadej.jpg

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
1611 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากถูกกล่าวหาจากกรณีเหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8)
8
(1-2)
ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์.jpg
พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์1723 สิงหาคม พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
(ลาออกเนื่องจากมีกระแสกดดันที่รุนแรง)
1 ปี 79 วันพรรคแนวรัฐธรรมนูญ
1830 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(รัฐประหาร)
คณะทหารแห่งชาติ
(หัวหน้าคณะ: ผิน ชุณหะวัณ)
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 24909 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
4
(3-4)
ควง อภัยวงศ์ 2475.jpg
พันตรีควง อภัยวงศ์199 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(มติคณะทหารแห่งชาติ)
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
(ลาออกเพื่อจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
0 ปี 150 วันพรรคประชาธิปัตย์
2021 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5)
8 เมษายน พ.ศ. 2491
(ลาออกเนื่องจากคณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกภายใน 24 ชั่วโมง)
3
(3-8)
แปลก พิบูลสงคราม รูปอย่างเป็นทางการ.jpgจอมพล ป. พิบูลสงคราม218 เมษายน พ.ศ. 2491
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5)
25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 และมีการเลือกตั้งทั่วไป)
9 ปี 161 วันพรรคธรรมาธิปัตย์[2]
2225 มิถุนายน พ.ศ. 2492
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5)
29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
(นำรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้ง)
2329 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
(มติคณะรัฐประหาร)
6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
(มีการแต่งตั้งสมาชิกประเภทที่ 2 ขึ้นใหม่)
คณะบริหารประเทศชั่วคราว
246 ธันวาคม พ.ศ. 2494
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6)
23 มีนาคม พ.ศ. 2495
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2495 และมีการเลือกตั้งทั่วไป)
พรรคธรรมาธิปัตย์[2]
2524 มีนาคม พ.ศ. 2495
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7)
21 มีนาคม พ.ศ. 2500
(สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
2621 มีนาคม พ.ศ. 2500
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8)
16 กันยายน พ.ศ. 2500
(รัฐประหาร)
พรรคเสรีมนังคศิลา
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: สฤษดิ์ ธนะรัชต์)
16 กันยายน พ.ศ. 250021 กันยายน พ.ศ. 2500
9Pote Sarasin 1957.jpgพจน์ สารสิน2721 กันยายน พ.ศ. 2500
(ทูลเกล้าฯเสนอชื่อโดยผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร)
1 มกราคม พ.ศ. 2501
(ลาออกและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
0 ปี 102 วัน
10
(1)
Thanom Kittikachorn 1960 02.jpg
พลเอกถนอม กิตติขจร281 มกราคม พ.ศ. 2501
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
(ลาออกและรัฐประหาร)
0 ปี 292 วันพรรคชาติสังคม
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: สฤษดิ์ ธนะรัชต์)
20 ตุลาคม พ.ศ. 25019 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
11
Official portraits of Sarit Thanarat.jpg
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์299 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
(มติสภาร่างรัฐธรรมนูญ)
8 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(ถึงแก่อสัญกรรม)
4 ปี 302 วันคณะปฏิวัติ
10
(2-3)
Thanom Kittikachorn 1960 02.jpg
จอมพลถนอม กิตติขจร309 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(มติสภาร่างรัฐธรรมนูญ)
7 มีนาคม พ.ศ. 2512
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
7 ปี 343 วัน
317 มีนาคม พ.ศ. 2512
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
(รัฐประหาร)
พรรคสหประชาไทย
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: ถนอม กิตติขจร)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 251418 ธันวาคม พ.ศ. 2515
10
(4)
Thanom Kittikachorn 1960 02.jpg
จอมพลถนอม กิตติขจร3218 ธันวาคม พ.ศ. 2515
(มติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(ลาออกเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา)
0 ปี 300 วันคณะปฏิวัติ
12
Sanya Dharmasakti 1974 (cropped).jpg
สัญญา ธรรมศักดิ์3314 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(ทูลเกล้าฯเสนอชื่อโดยรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(ลาออกโดยให้เหตุผลว่าร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จ)
1 ปี 124 วัน
3427 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(มติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
6
(2)
Seni Pramoj in 1945.jpg
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช3515 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11)
14 มีนาคม พ.ศ. 2518
(ไม่ได้รับความไว้วางใจในการแถลงนโยบาย)
0 ปี 27 วันพรรคประชาธิปัตย์
13คีกฤทธิ์ ปราโมช.jpgหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช3614 มีนาคม พ.ศ. 2518
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11)
20 เมษายน พ.ศ. 2519
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[3]
1 ปี 37 วันพรรคกิจสังคม
6
(3)
Seni Pramoj in 1945.jpg
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช3720 เมษายน พ.ศ. 2519
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12)
25 กันยายน พ.ศ. 2519
(ลาออกเนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์ถนอม กิตติขจรกลับมาอุปสมบท)
0 ปี 169 วันพรรคประชาธิปัตย์
3825 กันยายน พ.ศ. 2519
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12)
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(รัฐประหาร)
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
(หัวหน้าคณะ: สงัด ชลออยู่)
6 ตุลาคม พ.ศ. 25198 ตุลาคม พ.ศ. 2519
14Tanin2011.jpgธานินทร์ กรัยวิเชียร398 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(มติคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
(รัฐประหาร)
1 ปี 12 วัน
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: สงัด ชลออยู่)
20 ตุลาคม พ.ศ. 252011 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
15
(1-2)
Kriangsak Chomanan 1976.jpgพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์4011 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
(มติคณะปฏิวัติ)
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
2 ปี 113 วัน
4112 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13)
3 มีนาคม พ.ศ. 2523
(ลาออกเนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์น้ำมันและผู้ลี้ภัย)
16
(1-3)
Prem Tinsulanoda cropped.JPG
พลเอกเปรม ติณสูลานนท์423 มีนาคม พ.ศ. 2523
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13)
30 เมษายน พ.ศ. 2526
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[4]
8 ปี 154 วัน
4330 เมษายน พ.ศ. 2526
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14)
5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[5]
445 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15)
4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[6]
17
(1-2)
Chatichai Choonhavan 1976.jpg
พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ454 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16)
9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(ลาออก)
2 ปี 203 วันพรรคชาติไทย
469 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16)
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
(รัฐประหาร)
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ
(หัวหน้าคณะ: สุนทร คงสมพงษ์)
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25342 มีนาคม พ.ศ. 2534
18
(1)
Anand Panyarachun.jpg
อานันท์ ปันยารชุน472 มีนาคม พ.ศ. 2534
(มติคณะ รสช.)
7 เมษายน พ.ศ. 2535
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
1 ปี 36 วัน
19
Suchinda Kraprayoon.jpg
พลเอกสุจินดา คราประยูร487 เมษายน พ.ศ. 2535
(ทูลเกล้าฯ เสนอชื่อโดยสุนทร คงสมพงษ์ ประธานสภา รสช.[7][8] และมติพรรคร่วมรัฐบาล[9])
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(ลาออกเนื่องจากเกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ)
0 ปี 47 วัน-
-มีชัย ฤชุพันธุ์24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง)
10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
(รองนายกรัฐมนตรี รักษาการในตำแหน่ง)
18
(2)
Anand Panyarachun.jpg
อานันท์ ปันยารชุน4910 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(ทูลเกล้าฯ เสนอชื่อโดยอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎร)
23 กันยายน พ.ศ. 2535
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[10]
0 ปี 105 วัน
20
(1)
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
ชวน หลีกภัย5023 กันยายน พ.ศ. 2535
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18)
13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[11]
2 ปี 293 วันพรรคประชาธิปัตย์
21
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
บรรหาร ศิลปอาชา5113 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19)
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[12]
1 ปี 135 วันพรรคชาติไทย
22
Chavalit Yongchaiyudh 18 May 2018 01 cropped.jpg
พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ5225 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ)
0 ปี 349 วันพรรคความหวังใหม่
20
(2)
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
ชวน หลีกภัย539 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20)
9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[13]
3 ปี 92 วันพรรคประชาธิปัตย์
23
(1-2)
Thaksin crop.jpg
ทักษิณ ชินวัตร549 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21)
11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
5 ปี 222 วันพรรคไทยรักไทย
5511 มีนาคม พ.ศ. 2548
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22)
19 กันยายน พ.ศ. 2549
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป และเกิดรัฐประหาร)[14]
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(หัวหน้าคณะ: สนธิ บุญยรัตกลิน)
19 กันยายน พ.ศ. 25491 ตุลาคม พ.ศ. 2549
24
Surayud cropped 2007.jpg
พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์561 ตุลาคม พ.ศ. 2549
(มติคณะ คปค.)
29 มกราคม พ.ศ. 2551
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
1 ปี 120 วัน
25
Samak Sundaravej.JPG
สมัคร สุนทรเวช5729 มกราคม พ.ศ. 2551
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23)
9 กันยายน พ.ศ. 2551
(ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง)[15]
0 ปี 224 วันพรรคพลังประชาชน
26
Somchai Wongsawat 15112008.jpg
สมชาย วงศ์สวัสดิ์9 กันยายน พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
18 กันยายน พ.ศ. 2551
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
พรรคพลังประชาชน
(รองนายกรัฐมนตรี รักษาการในตำแหน่ง)
5818 กันยายน พ.ศ. 2551
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23)
2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี)[16]
0 ปี 75 วันพรรคพลังประชาชน
-
ภาพถ่ายเบื้องหลัง การบันทึกเทป โครงการ ไทยเข้มแข็ง (The Official Site of The Prim - Flickr - Abhisit Vejjajiva (44).jpg
ชวรัตน์ ชาญวีรกูล3 ธันวาคม พ.ศ. 2551
17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
(รองนายกรัฐมนตรี รักษาการในตำแหน่ง)
27
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ5917 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23)
5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[17]
2 ปี 231 วันพรรคประชาธิปัตย์
28
Prime Minister of Thailand (8182792228) cropped.jpg
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร605 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24)
7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
(ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่งขณะรักษาการ หลังจากยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[18]
2 ปี 275 วันพรรคเพื่อไทย
-
Niwatthamrong Boonsongpaisan at Ministerial Conference 2013 crop.jpg
นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
(รัฐประหาร)
พรรคเพื่อไทย
(รองนายกรัฐมนตรี รักษาการในตำแหน่ง)
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
(หัวหน้าคณะ: ประยุทธ์ จันทร์โอชา)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 255724 สิงหาคม พ.ศ. 2557
29
(1-2)
Prayut Chan-o-cha (cropped) 2016.jpg
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา6124 สิงหาคม พ.ศ. 2557
(มติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
9 มิถุนายน พ.ศ. 2562
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[19]
6 ปี 333 วันคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
King Rama X official (crop).png

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
629 มิถุนายน พ.ศ. 2562
(มติของรัฐสภา)
ปัจจุบันพรรคพลังประชารัฐ[a]

 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ไม่ได้เป็นสมาชิกของพรรคพลังประชารัฐ แต่ได้รับการเสนอชื่อจากพรรคให้เป็นผู้ชิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2562


  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

เนื้อเพลง